Newsอนาถใจ “ชาญวิทย์” รำพึงรำพันถึงรัฐประหาร ‘คำผกา’ ชี้ปัญญาชนพวกนี้ชอบทำตัวย้อนแย้ง

อนาถใจ “ชาญวิทย์” รำพึงรำพันถึงรัฐประหาร ‘คำผกา’ ชี้ปัญญาชนพวกนี้ชอบทำตัวย้อนแย้ง

ศ. (พิเศษ) ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ และอดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โพสต์เฟสบุ๊กเมื่อวานนี้ (5 ม.ค. 2568) โดยระบุว่า 

 

ถ้าประเทศไทยจะมีการรัฐประหารอีกครั้ง ก็จะมีลักษณะของการก่อรัฐประหารธรรมดา ๆ อย่างที่เคยเกิดขึ้นเป็นประจำ หรือจะกลายเป็นรัฐประหารที่เป็นประชาธิปไตย เหมือนในปี 2475 (ค.ศ. 1932) ซึ่งเป็นปีที่คณะราษฎร์ก่อการปฎิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

 

โดยมีข้อความว่า “ถ้าเมืองไทยจะมี coup (การรัฐประหาร) อีกครั้ง มันจะออกมาเปน coup ธรรมดา ๆ เหมือน coups ที่มีประจำ หรือว่าจะกลายเปน democratic coup (รัฐประหารที่เป็นประชาธิปไตย) แบบ 2475/1932”

คำผกา-ลักขณา ปันวิชัย พิธีกร Voice TV แคปข้อความดังกล่าว และโพตส์ใน X พร้อมระบุว่า

 

“น่าเอน็จอนาจใจนะคะ ที่ปัญญาชนอย่าง อ. ชาญวิทย์ จินตนาการถึง coup หรือการรัฐประหาร ถึงขั้นรำพึงรำพันว่า

‘ถ้ามี รปห. อีกครั้ง จะเป็น รปห. แบบใด?‘ 

เดือนที่แล้ว ปัญญาชนพวกนี้ยังเชียร์ประชาชนเกาหลีใต้ เชียร์รัฐสภาเกาหลีใต้อยู่เลยที่ต้านทานการประกาศกฎอัยการศึกของประธานาธิบดี ได้

 

แขกจะบอกอะไรให้นะคะ

การที่พรรคส้ม (พรรคประชาชน-ก้าวไกล) ของอาจารย์ไม่ได้เป็นรัฐบาล ไม่เท่ากับ ประเทศไม่เป็นประชาธิปไตย

การที่ส้มไม่ได้เป็นรัฐบาลเพราะส้มได่ สส. ไม่ถึง 250 ที่นั่ง

การที่ส้มไม่ได้เป็นรัฐบาลเพราะรวมเสียงในสภาฯ ไม่ได้

หากอาจารย์ไม่ยอมรับความจริงข้อนี้ อาจารย์จะเข้าสู่ภาวะฟั่นเฟือนจนละเมอถึงการรัฐประหาร

 

อนึ่ง นักประวัติศาสตร์ย่อมรู้ว่า 1932 coup is about (การรัฐประหารปี 2475 คือ) การเปลี่ยนระบอบ –> อาจารย์คิดว่าส้มจะทำเหรอคะ? แค่ศาลรธน. สั่งยุบพรรคก็เสียงสั่น ลบนโยบายกันตาเหลือก

ยักไหล่แล้วไปต่อมันแค่ภาวะ delusion (อาหารหลงผิด) รวมหมู่ สะกดจิตกันเอง เพ้อกันเอง ปลอบใจกันเอง

 

ประชาธิปไตยมันคือการเคารพการเลือกของประชาชน

ในภาวะที่กติกาอันเป็นมรดกของการรัฐประหารยังอยู่ เรายิ่งต้อง empowering (เพิ่มอำนาจ) ฝ่ายการเมือง

ไม่ใช่พรรคที่กูเชียร์แพ้แล้วละเมอถึงการรัฐประหาร

 

นี่คือความล่มสลายของปัญญาชนไทย

ควรก้มหน้าลงเลียตูด กินขี้ตัวเอง”

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณ เพื่อให้เราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมและความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า